Home How to คำโฆษณาเครื่องสำอาง 'ที่ห้ามใช้' by Phawanthaksa, 9 เมษายน 2562 เว็บไซต์ อย. ชี้ว่าในปัจจุบันมีหลายแบรนด์เครื่องสำอางนิยมใช้คำโฆษณาโอ้อวดเกินจริงอย่างแพร่หลายบนโลกออนไลน์ ซึ่งผู้ขายอาจรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ว่าคำเหล่านี้มีความผิดทางกฎหมาย มาดูกันว่าคำโฆษณาเหล่านั้น มีคำใดบ้าง ตัวอย่างลักษณะการโฆษณาที่ฝ่าฝืนกฎหมาย สื่อว่าผลิตภัณฑ์ได้การรับรองคุณภาพจาก อย.

แฟชั่น ความงาม โฆษณาเครื่องสำอาง ล่าสุด

โฆษณาเกินจริง เครื่องสําอาง
คุ้มครองผู้บริโภค โดยมี คณะกรรมการว่าด้วยการโฆษณา เป็นหน่วยงานดูแล, พรบ.

1556 และ กสทช. Call Center 1200 Cr. it24hrs, กสทช.

มีอำนาจสั่งให้ผู้ประกอบระงับการโฆษณาข้อความดังกล่าว หรือให้ผู้กระทำการโฆษณาพิสูจน์เพื่อแสดงความจริง หากไม่สามารถพิสูจน์ได้ตามที่กล่าวอ้างก็จะมีความผิด รองเลขาธิการฯ กล่าวย้ำว่า ถึงแม้ว่าการโฆษณาเครื่องสำอางจะไม่กำหนดให้ต้องมีใบอนุญาตจาก อย. ก็ตาม แก่หากโฆษณาสรรพคุณเกินกว่าความเป็นเครื่องสำอาง โดยเฉพาะถ้าสื่อสรรพคุณไปทางยา ก็จะเป็นการฝ่าฝืนกฎหมาย มีบทลงโทษสำหรับผู้กระทำความผิด ได้แก่ เจ้าของผลิตภัณฑ์ผู้ประอบกิจการโฆษณารวมทั้งเจ้าของสื่อโฆษณาด้วย ในส่วนของผู้บริโภคขอให้พิจารณาให้ดี อย่าหลงเชื่อโฆษณาเกินจริง หากสงสัยว่ามีการโฆษณาเครื่องสำอางที่ไม่ถูกต้อง สามารถร้องเรียนได้ที่โทร. 590-7354-5 หรือทางไปรษณีย์ที่ ตู้ ปณ. 52 ปณจ. นนทบุรี 11000 หรือทางสายด่วนผู้บริโภคกับ อย. โทร. 1556 กด ต่อ 1005--จบ-- -อน-

โฆษณาเกินจริง เครื่องสําอาง

เตือน เครื่องสำอาง ออนไลน์ระบาด โฆษณาเกินจริง" เผยแพร่ใน เขียนโดย กุลนิษฐ์ แสงจันทร์

ในยุคโลกออนไลน์เปรียบเสมือนเป็นปัจจัยที่ 5 ของใครหลายคนไปแล้ว ที่สามารถซื้อของ จ่ายเงิน หรือการทำธุรกรรมบนโซเชี่ยลที่ถือเป็น ความสะดวกสบาย โดยเฉพาะสำหรับสาวๆ หลายคน การซื้อ เครื่องสำอาง ผ่านทางออนไลน์ถือเป็นเรื่องคุ้นเคยแต่ใครจะรู้ว่าผลิตภัณฑ์ความงามที่เห็นคำโฆษณาตามหน้าเว็บเพจต่างๆ อาจไม่ได้ดีอย่างที่คิด น. พ. ไพศาล ดั่นคุ้ม รองเลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยา (อย. ) กล่าวว่า พบการโฆษณาขายสินค้าเครื่องสำอางทางสื่อออนไลน์อ้างสรรพคุณเกินจริงจำนวนมาก ทั้งทางเฟสบุ๊ค อินสตาแกรม และไลน์ โดยอ้างว่า การโฆษณาผ่านการรับรองจากอย. ซึ่งไม่เป็นความจริง เพราะการโฆษณา เครื่องสำอางไม่ต้องขออนุญาตก่อนการโฆษณา แต่เป็นเพียงผู้ประกอบธุรกิจเครื่องสำอางมายื่นคำขอจดแจ้งผลิตภัณฑ์เป็นเครื่องสำอางเท่านั้น เพราะเมื่อได้รับใบแจ้งแล้ว มีการแอบอ้างนำเลขที่ใบรับจดแจ้งไปโฆษณาขายสินค้าทางออนไลน์ ส่วนใหญ่สินค้าออนไลน์ที่พบเป็นการโฆษณาแสดงสรรพคุณเกินกว่าการเป็นเครื่องสำอาง เช่น แสดงสรรพคุณรักษาโรค อย่างอาการเคล็ดขัดยอก ช่วยขยายขนาดอวัยวะเพศชาย กระชับช่องคลอด มีสรรพคุณไม่ตรงกับที่จดแจ้งไว้กับทาง อย. เช่น จดแจ้งเป็นผลิตภัณฑ์ทำความสะอาด แต่โฆษณาว่าสามารถเพิ่มขนาดอวัยวะเพศได้ ทำให้ผู้บริโภคหลงเชื่อ เข้าใจผิด และอาจนำไปใช้และเกิดอันตรายได้ นอกจากนี้ทาง อย.

ข้อความโฆษณาเป็นไปตามที่กฎหมายกำหนดหรือไม่ เช่น ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารจะต้องไม่โฆษณาสรรพคุณในการป้องกัน บรรเทา และรักษาโรค ลดความอ้วนเพิ่มสมรรถภาพทางเพศ ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางไม่สามารถรีวิวว่าใช้แล้วเห็นผลจริง ช่วยให้ผิวขาวขึ้นรักษาฝ้า กระ อย่างถาวร อาหารเสริมไม่ใช่ยา สิ่งสำคัญที่สุดคือ อาหารเสริมไม่ใช่ยา ทำแทนกันไม่ได้ อาหารเสริมชื่อก็บอกมาอยู่แล้วว่าแค่เสริมไม่ใช่อาหารหลัก ไม่ใช่ยา แค่เสริมมาจากอาหารหลักที่เรากินอยู่ แต่ถึงไม่กินเราก็ยังอยู่ได้ อาหารเสริมจำเป็นมั้ย คำตอบก็คือไม่จำเป็น แต่จะกินหรือไม่กินก็แล้วแต่เราเลย วิธีเลือกอาหารเสริมที่ปลอดภัย ดูว่ามี อย. หรือเปล่า อาหารทุกชนิดต้องมี อย. ถ้าไม่มีก็โบกมือลา ทิ้งไปได้เลย ถ้าเป็นยาก็จะมีเลขตำรับยาบอก อย. คือการรับรองว่าปลอดภัยไม่ได้รับรองสรรพคุณทุกอย่างที่กล่าวอ้าง ไม่โฆษณาเกินจริง ไม่อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง จะมีสรรพคุณบอกทั่วไปว่าใช้บำรุงร่างกาย ถ้ามากกว่านั้นคือผิดตามพระราชบัญญัติโฆษณา เช่น ผิวขาว สิวหาย น้ำหนัดลด จมูกเข้ารูป อะไรพวกนี้คือไม่ได้เลย อย่าหาซื้อ! อ่านต่อ กดเลย รีวิวจากคอมมูนิตี้จีบัน: sweetsong13 สอบถามข้อสงสัย คุย LINE@ กับ

วิธีสังเกตคำ โฆษณาเกินจริง ของอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปรากฏทางทีวี - Bitdefender Thailand

  • Ovomaltine crunchy bar ราคา ตารางผ่อน
  • ปคบ.-อย.แถลงจับ บ.หลอกขายผลิตภัณฑ์สุขภาพ อวดอ้างสรรพคุณเกินจริง
  • โฆษณาเกินจริง เครื่องสําอาง
  • Thomas edison ผล งาน
  • วิธีสังเกตคำ โฆษณาเกินจริง ของอาหาร ยา เครื่องสำอาง ที่ปรากฏทางทีวี - Bitdefender Thailand

จะดำเนินการส่งทำข่าวประชาสัมพันธ์ในเว็ปไซต์ ศูนย์ต่อต้านข่าวปลอม ประเทศไทย (Anti-Fake News Center Thailand) และเว็ปไซต์ของ อย. เช็คชัวร์แชร์ ต่อไป ทั้งนี้หากพบแหล่งผลิตหรือจำหน่ายผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ผิดกฎหมายหรืออาจไม่ปลอดภัยในการบริโภค ขอให้แจ้งเบาะแสร้องเรียนมาได้ที่ สายด่วน ปคบ. เตือนภัยผู้บริโภค หรือ สายด่วน อย. โทร. 1556 อีเมล์ หรือสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดทั่วประเทศ

สวยเกินจริง! บิวตี้บล็อกเกอร์ชาวอังกฤษ โดนสั่งห้ามใช้ฟิลเตอร์รีวิวเครื่องสำอาง ยุคสมัยนี้การจะใช้แอพพลิเคชั่นแต่งหน้า หรือปรับฟิลเตอร์ต่างๆ ดูเหมือนจะเป็นเรื่องปกติในชีวิตประจำวันของใครหลายคนด้วยซ้ำ โดยเฉพาะเหล่าอินฟลูเอนเซอร์ บิวตี้บล็อกเกอร์ ที่ต้องรีวิวสินค้า เพื่อโปรโมทโปรดักส์ต่างๆ เกือบจะ 80% มักผ่านการปรับฟิลเตอร์ก่อนเสมอ นั่นก็เพื่อให้ได้ภาพที่เพอร์เฟ็ค ออกมาเป๊ะแบบไร้ที่ติ เช่น ผิวพรรณที่ดูหยาบแห้งกร้าน รูขุมขนใหญ่ พอปรับฟิลเตอร์กลับช่วยเบลอรูขุมขน ทำให้ผิวดูสวยเรียบเนียนขึ้นมาทันทีเพียงปลายนิ้วสั่งเท่านั้น แล้วแบบนี้ใครจะไม่ชอบปรับฟิลเตอร์ล่ะ คุณว่าจริงไหม?? แต่ล่าสุดดูเหมือนว่าโลกความงามของเหล่า บิวตี้บล็อกเกอร์ชาวอังกฤษ กำลังจะพังทลาย เพราะ ASA เคาะว่าไม่ควรใช้ฟิลเตอร์หากมีการขายเครื่องสำอางหรือผลิตภัณฑ์บำรุงผิว เพราะแต่งออกมาแล้วดูหลอกตา ขายสวยเกินจริง!! View this post on Instagram A post shared by SASHA LOUISE PALLARI (@sashalouisepallari) โดยทาง เว็บไซต์เดอะซัน รายงานว่า องค์กร ASA (Advertising Standards Authority) ซึ่งเป็นหน่วยงานกำกับดูแลด้านการโฆษณาของสหราชอาณาจักร ได้ออกคำสั่งห้ามแบรนด์ต่างๆ ตลอดจนอินฟลูเอนเซอร์และเซเลบริตี้ทั้งหลาย ใช้ฟิลเตอร์ในการปรับแต่งภาพเพื่อโฆษณาเครื่องสำอางและสกินแคร์ต่างๆ ผ่านทางสื่อโซเชียลมีเดีย หากฟิลเตอร์ดังกล่าวทำให้ภาพออกมามีผลลัพธ์ที่บิดเบือนเกินจริง […]

2 ห้ามมิให้โฆษณาขายยาโดยไม่สุภาพหรือการร้องรำทำเพลง หรือแสดงความทุกข์ทรมานของผู้ป่วย(มาตรา 89) 1. 3 ห้ามมิให้มีการโฆษณาขายยาโดยวิธีแถมพกหรือออกสลากรางวัล (มาตรา 90) วิธีปฏิบัติในการโฆษณา การโฆษณาขายยาทางวิทยุกระจายเสียง เครื่องขยายเสียง วิทยุโทรทัศน์ ทางฉายภาพหรือทางภาพยนตร์หรือทางสิ่งพิมพ์จะต้อง (1) ได้รับอนุญาตข้อความเสียง หรือภาพที่ใช้ในการโฆษณาจากผู้อนุญาต (2) ปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ผู้อนุญาตกำหนด (มาตรา 88 ทวิ) อำนาจการสั่งการ เลขาธิการคณะกรรมการอาหารและยามีอำนาจสั่งเป็นหนังสือให้ระงับการโฆษณาขายยาที่เห็นว่าเป็นการโฆษณาโดยฝ่าฝืนพระราชบัญญัตินี้ได้ (มาตรา 90 ทวิ) ข. บทกำหนดโทษ หากผู้ใดฝ่าฝืนข้อห้าม แนวทางปฏิบัติจะต้องได้รับโทษตามกฎหมาย ดังนี้ (1) ผู้ใดโฆษณาขายยาโดยฝ่าฝืนมาตรา 88 มาตรา 88 ทวิ มาตรา 89 และมาตรา 90 ต้องระวางโทษ จำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท หรือทั้งจำทั้งปรับ (มาตรา 124) (2) ผู้ใดฝ่าฝืนคำสั่งให้ระงับการโฆษณาขายยาของคณะกรรมการอาหารและยา ซึ่งสั่งตามมาตรา 90 ทวิ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 เดือน หรือปรับไม่เกินห้าพันบาท หรือทั้งจำทั้งปรับและให้ปรับ รายวันอีกวันละห้าร้อยจนกว่าจะปฏิบัติตามคำสั่งดังกล่าว (มาตรา 124 ทวิ) กฎหมายด้านการโฆษณาอาหาร พระราชบัญญัติว่าด้วยอาหาร พ.

นิยาย มาเฟีย แก้แค้น
  1. เงินที่ใช้ในสมัยอยุธยาคือข้อใด
  2. จัด อันดับ youtube video
  3. พยาธิ เส้นด้าย รักษา อะไร
  4. ขาย nikon d5100
  5. แบบ ข 6
  6. หนังสือเทรดหุ้น
  7. โรงแรม แถว อโศก pantin 93
  8. หน้าที่ ของ บัญชี เจ้าหนี้
  9. ปวดรากฟันทําไงหาย
  10. เซิร์ฟสเก็ต กับ สเก็ตบอร์ด ต่างกันอย่างไร
  11. เคส s8 samsung
  12. น้อง อั ล ฟา อันไหนดีกว่ากัน
  13. จอง สอบ toeic