ทฤษฎีความรู้ความเข้าใจ หรือทฤษฎีปัญญา ( Cognitive Theories) พรรณี ช. เจนจิต (2538: 404 – 406) ได้สรุปแนวคิดของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มีความเห็นว่า การศึกษาพฤติกรรมควรเน้นความสำคัญของกระบวนการคิด และการรับรู้ของคน ได้ให้ข้อเสนอแนะว่าคนทุกคนมีธรรมชาติภายในที่ใฝ่ใจใคร่รู้ใคร่เรียน เพื่อก่อให้เกิดสภาพที่สมดุล ดังนั้นการที่เด็กได้มีโอกาสเรียนตามความต้องการ และความสนใจของตน จะเป็นสิ่งที่มีความหมายสำหรับเด็กมากกว่าที่ครูหรือผู้อื่นจะเป็นผู้บอกให้ ซึ่งก็คือ " การจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ " 3. ทฤษฎีของกลุ่มมนุษยนิยม ( Humanisticism) กลุ่มมนุษยนิยมจะคำนึงถึงความเป็นคนของคน จะมองธรรมชาติของมนุษย์ในลักษณะที่ว่ามนุษย์เกิดมาพร้อมกับความดีที่ติดตัวมาแต่กำเนิด มนุษย์เป็นผู้ที่มีอิสระสามารถที่จะนำตนเอง และพึ่งตนเองได้ เป็นผู้ที่มีความคิดสร้างสรรค์ที่จะทำประโยชน์ให้สังคม มีอิสรเสรีภาพที่จะเลือกทำสิ่งต่าง ๆ ที่จะไม่ทำให้ผู้ใดเดือนร้อน ซึ่งรวมทั้งตนเองด้วย มนุษย์เป็นผู้ที่มีความรับผิดชอบ และเป็นผู้สร้างสรรค์สังคม Maslow (อ้างใน พรรณีช. 2538: 438 -439) ได้เสนอแนวความคิดใหม่ เรียกว่า Third Force Psychology ซึ่งมีความเชื่อพื้นฐานว่า " ถ้าให้อิสรภาพแก่เด็ก เด็กจะเลือกสิ่งที่ดีสำหรับตนเอง พ่อแม่และครูได้รับการกระตุ้นให้มีความไว้วางใจในตัวเด็กและควรเปิดโอกาสและช่วยให้เด็กเจริญเติบโตต่อไป Rogers (อ้างใน พรรณี ช.

Punnee Ounlamai (KRUNOK): บทความ "เจตคติกับการเรียนรู้คณิตศาสตร์"

โรงเรียนเชียงกลาง ประชาพัฒนา 87 หมู่ 11 ถนนอดุลย์เดชจรัส ตำบลเชียงกลาง อำเภอเชียงกลาง จังหวัดน่าน 55160 เบอร์โทรศัพท์ 054-797017

แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์.doc

  1. สุขบัญญัติแห่งชาติ 10 ประการ - YouTube
  2. การสร้างแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ที่วิเคราะห์โดยวิธีพาเชียลเครดิตโมเดล สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - GotoKnow
  3. เสื้อ กัน หนาว ผ้า ไหม
  4. สิทธิประกันสังคม ใช้ได้ทั้ง อุดฟัน ถอนฟัน ขูดหินปูน และผ่าฟันคุด
  5. Punnee Ounlamai (KRUNOK): บทความ "เจตคติกับการเรียนรู้คณิตศาสตร์"
  6. จอง oppo f9 specs

::โรงเรียนเชียงกลาง

(45 - 53 ตุลาคม - ธันวาคม 2558). การใช้โจทย์ปัญหาที่ส่งเสริมให้นักเรียนสามารถเกิดปัญหาทางคณิตศาสตร์ด้วยตนเอง ในชั้นเรียนคณิตศาสตร์ที่ใช้การศึกษาชั้นเรียนและวิธีการแบบเปิด. วารสารศึกษาศาสตร์ ฉบับวิจัยบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 45-53. นิรมล บุญวาสและนวลศรี ชำนาญกิจ. (กันยายน - ธันวาคม 2558). ผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยวิธีการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่6. วิชาการและวิจัยสังคมศาสตร์, 143-156. สมควร กันเทพา. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2554). การพัฒนาชุดการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่องอัตราส่วนและร้อยละชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร, 111-120. สุพรรณิกา สืบสิมมา. ( กรกฎาคม – ธันวาคม 2554). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์เรื่อง อสมการระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

01 (นิรมล บุญวาสม, นวลศรี ชำนาญกิจ, 2557) ได้ศึกษาและวิจัยผลการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยวิธีการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกมที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนรัฐเขื่อนพลเทพอุปถัมภ์ จำนวน 16 คน ซึ่งได้มาจากการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยวิธีการแข่งขันระหว่างกลุ่ม ด้วยเกม ซึ่งผ่านการตรวจสอบคุณภาพโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน มีค่าเฉลี่ยรวม เท่ากับ 4. 52 และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เท่ากับ 0. 50 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เป็นแบบปรนัย จำนวน 30 ข้อ มีค่าความยากง่ายตั้งแต่ 0. 44 - 0. 76 มีค่าอำนาจำแนกตั้งแต่ 0. 33 - 0. 55 และมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0. 94 และ 3) แบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ มีลักษณะเป็นมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ จำนวน 24 ข้อ มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0. 73 1. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือด้วยวิธีการแข่งขันระหว่างกลุ่มด้วยเกม จำนวนร้อยละ 100 ของจำนวนนักเรียนทั้งหมดมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ คะแนนร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม อย่างมีนัยสำคัญทาง สถิติที่ระดับ.

แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ เจตคติ หมายถึง ท่าทีของบุคคลและความรู้สึกที่แสดงออกต่อสิ่งที่ได้รับมาจากประสบการณ์ และแสดงปฏิกิริยาตอบสนองต่อสิ่งที่ได้รับนั้น อาจจะโน้มเอียงไปทิศทางใดทิศทางหนึ่งอาจจะเป็นด้านที่ดีหรือไม่ดีก็ได้ เจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง ความรู้สึกหรือความคิดเห็นต่อวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งวัดได้จากแบบสอบถาม ( ยุพิน พิพิธกุล. 2527: 13; พรรณี ช. เจนจิต. 2528: 543; พวงรัตน์ ทวีรัตน์. 2540: 108) องค์ประกอบของเจตคติแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ 1. องค์ประกอบทางด้านความรู้ ความคิด ความเข้าใจ 2. องค์ประกอบทางด้านความรู้สึก 3. องค์ประกอบด้านพฤติกรรมที่กระทำหรือปฏิบัติ องค์ประกอบทั้ง 3 ส่วนดังกล่าว มีความสัมพันธ์กัน คือ องค์ประกอบด้านความรู้ ความคิด ความเข้าใจเป็นพื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับความเชื่อของบุคคลที่อาจจะแสดงความรู้สึกออกมาในรูปพอใจ – ไม่พอใจ ชอบ – ไม่ชอบ ฯลฯ ซึ่งความรู้สึกก็จะมีผลต่อการแสดงออกของบุคคลนั้นในลักษณะใดลักษณะหนึ่ง 2. แนวคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้ 1.