ทุนจดทะเบียนเท่าไหร่จึงเหมาะสมกับกิจการ 15. SME กับ No SME ประหยัดภาษีต่างกันเท่าไหร่ 16. วางแผนรายได้อย่างไร 17. ภาษีที่เกี่ยวข้องกับการทำธุรกิจ 18. แบบไหนดีกว่ากันระหว่างจ้างพนักงานบัญชี กับ จ้างสำนักงานบัญชี 19. เอกสารที่ควรเตรียมส่งให้สำนักงานบัญชีมีอะไรบ้าง 20. ผู้ประกอบการต้องรู้ว่านักบัญชีของคุณบันทึกบัญชีตามเกณฑ์บัญชี หรือเกณฑ์ภาษี 21. เลิกกิจการอย่างไรให้ประหยัดภาษี 22. ลูกหนี้เงินกู้ยืมกรรมการมีผลอย่างไรต่อกิจการ 23. มีค่าใช้จ่ายอะไรบ้างเมื่อเปลี่ยนจากบุคคลธรรมดาเป็นนิติบุคคล 24. องค์ประกอบของใบกำกับภาษีซื้อที่ถูกต้องดูอย่างไร 25. บิลค่าใช้จ่ายที่นำมาบันทึกบัญชีได้เป็นอย่างไร 26. วางแผนภาษีเมื่อเป็นนิติบุคคล 27. วางแผนการเงิน 28. เมื่อโดนสรรพากรตรวจกิจการรับมืออย่างไร 29. เมื่อโดนตำรวจเศรษฐกิจตรวจกิจการรับมืออย่างไร 30. บริจาคอย่างไรให้ประหยัดภาษี(กฎหมายใหม่) 31. สัญญาจ้างต้องเสียอากรแสตมป์เป็นเงิน(กฎหมายใหม่)

  1. สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร pantip
  2. เจ้าหนี้การค้า - Hua Hin Accounting & Law
  3. ธนาคารจะส่งข้อมูลบัญชีแบบไหนให้กรมสรรพากรบ้าง? (ฉบับอัปเดตปี 2022) — Page365
  4. กรมสรรพากรเปิดรับสมัครผู้สอบบัญชีภาษีอากร

สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร pantip

ใช้เงินสดเป็นหลัก 2. สินค้าคงเหลือไม่ถูกต้อง 3. ไม่มีทรัพย์สินหรือมีทรัพย์สินมากผิดปกติ ส่วนหนี้สินและทุน 4. มีเงินกู้ยืมจากกรรมการมากเกินไป และไม่สามารถชี้แจงได้ 5. แสดงบัญชีที่ขาดทุนสะสมเป็นเวลานาน ส่วนรายได้ 6. บันทึกรายได้ไม่ถูกต้อง 7. บันทึกรายได้ไม่ครบถ้วน ส่วนค่าใช้จ่าย 8. บันทึกค่าใช้จ่ายเพิ่มแต่รายได้ลดลง 9. บันทึกค่าใช้จ่ายสูงเมื่อเทียบกับรายได้ 10.

สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร 2563

ตรวจสอบรายการจ่ายชำระหนี้หลังวันสิ้นปี 7. สอบสวนยอดเดบิตในบัญชีเจ้าหนี้ 8. ยืนยันยอดเจ้าหนี้ 9. ขอหนังสือรับรองหนี้สินจากลูกค้า 10. ในกรณีที่มีเจ้าหนี้การค้าที่เป็นสกุลเงินตราต่างประเทศ ได้มีการแปลงค่าถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไป 11. พิจารณาจัดประเภทบัญชีใหม่สำหรับเจ้าหนี้การค้ากับบุคคลหรือกิจการที่เกี่ยวข้องกันหรือเจ้าหนี้ที่มีจำนวนเงินมากและไม่ได้เป็นเจ้าหนี้การค้าปกติ ( เช่น เจ้าหนี้พนักงาน กรรมการ หรือผู้ถือหุ้น) 12. สอบทานการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินเกี่ยวกับสินทรัพย์ที่นำไปจำนองและค้ำประกันเจ้าหนี้การค้า

เจ้าหนี้การค้า - Hua Hin Accounting & Law

ก่อนที่จะถึงวันที่ 30 มิ. ย. 62 เรามาดูเรื่องราวที่มีสาระสำคัญที่จำเป็นต่อคนทำธุรกิจ อันเนื่องจากกรมสรรพากรได้มีการประกาศใช้ และดำเนินงานเกี่ยวกับการตรวจสอบภาษีอย่างต่อเนื่อง และจริงจังด้วยการใช้ระบบบิ๊กดาต้า (Big Data) ในการวิเคราะห์ข้อมูล (Data Analytics) ว่าธุรกิจใดมีพฤติกรรมที่เข้าข่ายกลุ่มเสี่ยงเลี่ยงภาษี หากคุณไม่อยากเป็นที่เพ่งเล็งของกรมสรรพากรคุณก็ควรหลีกเลี่ยงพฤติกรรมเหล่านี้ 10 เกณฑ์เสี่ยง พฤติกรรมหลีกเลี่ยงภาษีที่กรมสรรพากรจับตามอง 1. ผู้ประกอบการที่ใช้เงินสดเป็นหลักในการประกอบกิจการ โดยไม่ผ่านการทำธุรกรรมทางการเงินผ่านสถาบันการเงินอย่างธนาคาร 2. จำนวนการแสดงยอดสินค้าคงเหลือไม่ถูกต้อง สินค้ามีจำนวนที่ขาด หรือเกินซึ่งไม่ตรงกับจำนวนในความเป็นจริง และไม่ได้รับการจดบันทึกที่ถูกต้อง ซึ่งจะส่งผลให้เห็นว่ากิจการอาจมีการแสดงรายได้ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริง 3. จำนวนทรัพย์สินมีมากกว่าปกติ หรือไม่มีอยู่เลย ซึ่งไม่มีความสอดคล้องกับความเป็นจริงการทำแบบนี้จะเข้าข่ายการจัดแต่งบัญชีเพื่อหลีกเลี่ยงภาษีเมื่อมีหนี้สิน และทุน 4. มีการแสดงผลประกอบการที่ออกมาถือว่าขาดทุน แต่ในขณะเดียวกันภายในงบบัญชีก็ยังมีรายการเงินกู้ยืมให้แก่กรรมการจำนวนมากที่ไม่สามารถทำการชี้แจงได้ 5.

สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร pantip

ด้วยสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากร กรมสรรพากร ได้ตรวจพบการทุจริตและการปฏิบัติหน้าที่ไม่เป็นไปตามจรรยาบรรณของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ทั้งกรณีเป็นผู้ทำบัญชีและเป็นผู้สอบบัญชี เช่น 1. ปลอมแปลงใบเสร็จรับเงินของกรมสรรพากร 2. ปลอมแปลงลายมือชื่อของผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี 3. ลงลายมือชื่อรับรองงบการเงิน โดยมิได้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชี 4. ลงลายมือชื่อรับรองงบการเงิน โดยมิได้ปฏิบัติงาน 5. การกำหนดค่าธรรมเนียมหรือค่าตอบแทนโดยถือเอาอัตราสูงต่ำตามยอดเงินหรือ ของมูลค่าทรัพย์สินใดที่ตนตรวจสอบและรับรองบัญชี หรือมีส่วนร่วมในการตรวจสอบและรับรองบัญชีเป็นเกณฑ์ หากสำนักมาตรฐานการสอบบัญชีภาษีอากรพบว่ามีการกระทำดังกล่าวข้างต้นจะดำเนินการกับผู้ที่เกี่ยวข้อง อย่างถึงที่สุด ตลอดจนแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้ดำเนินการตามกฎหมายต่อไป จึงขอเตือนนิติบุคคล ผู้สอบบัญชี และผู้ทำบัญชีให้ใช้ความระมัดระวัง รอบคอบและปฏิบัติงานด้วยความซื่อสัตย์ สุจริต เพื่อรักษาผลประโยชน์ของตนเองและส่วนรวม

ธนาคารจะส่งข้อมูลบัญชีแบบไหนให้กรมสรรพากรบ้าง? (ฉบับอัปเดตปี 2022) — Page365

การส่งข้อมูลจะดู ยอดเงินที่เข้าบัญชี โดยดูทุกบัญชีในธนาคารนั้นๆ ซึ่งเงื่อนไขในการส่งข้อมูลมีอยู่ 2 กรณี คือ จำนวนครั้งตั้งแต่ 400 ครั้งและจำนวนเงินถึง 2 ล้านบาท (อันนี้ต้องมาทั้งสองกรณีพร้อมกัน คือ จำนวนครั้งถึง และจำนวนเงินถึงเกณฑ์)และอีกกรณีหนึ่ง คือ นับแค่จำนวนครั้ง ถ้าถึง 3, 000 ครั้งเมื่อไร ถูกส่งทันทีโดยที่ไม่ต้องสนใจจำนวนเงิน (ป. ล. กฎหมายเรียกกรณีนี้ว่า ธุรกรรมลักษณะเฉพาะ) สรุปอีกที นั่นคือ เราจะถูกส่งข้อมูลก็ต่อเมื่อ ▶▶ ยอดเงินเข้า "ตั้งแต่" 400 ครั้งขึ้นไป และยอดรวม 2 ล้าน ▶▶ ยอดเงินเข้า "ตั้งแต่" 3, 000 ครั้งขึ้นไป ไม่รวมจำนวนเงิน โดยคำว่า "ยอดเงินเข้า" มาจากคำของกฎหมาย คือ "ฝากหรือรับโอนเงิน" จะหมายความว่ารวมรายการเข้าทั้งหมด ซึ่งควรจะหมายถึงรายการต่อไปนี้ 1. ยอดเงิน/ยอดฝากที่เข้าบัญชีทุกประเภท ถูกนับหมด 2. โอนเงินเข้าบัญชีตัวเอง ต่างธนาคารหรือธนาคารเดียวกันก็นับ 3. ฝากเงินเข้าบัญชีผ่านเคาน์เตอร์ เครื่องฝากเงินสด ก็นับ 4. โอนเข้าบัญชีแบบ Auto Transfer / Online / Ibanking ก็นับ 5. ฝากเงินเปิดบัญชีครั้งแรก ก็ยังนับด้วย 3.
ยอดเงินฝากเข้าบัญชี ยอดรับโอนเงิน ยอดเงินฝากเช็คเข้าบัญชี ยอดจากดอกเบี้ย ยอดจากเงินปันผล กรมสรรพากรจะได้รับข้อมูลอะไรบ้างจากสถาบัน? เลขประจำตัวประชาชน / เลขนิติบุคคล ชื่อ-สกุล เจ้าของบัญชี / ชื่อนิติบุคคล จำนวนครั้งของการฝากหรือรับโอนเงิน ยอดรวมของการฝากหรือรับโอนเงิน เลขที่บัญชีที่มีการฝากหรือรับโอนเงิน เริ่มบังคับใช้กฎหมายเมื่อไหร่? ประกาศกฎหมายเริ่มบังคับใช้เมื่อมกราคมปี 2562 และบังคับให้ส่งรายงานข้อมูลบัญชีที่มีธุรกรรมพิเศษให้แก่กรมสรรพากรภายในเดือนมีนาคม ปี 2563 เป็นต้นไป และเริ่มใช้จริง โดยสถาบันไม่ต้องนำส่งข้อมูลบัญชีย้อนหลังให้กรมสรรพากร อัพเดทล่าสุด (10 ม. 2564) ปี 2563 เป็นต้นไป สถาบันจะส่งข้อมูลบัญชีที่เข้าเงื่อนไขให้กับกรมสรรพากร โดยการนับธุรกรรมฝากหรือรับโอนเงิน ทางธนาคารนับธุรกรรมแบบปีต่อปีตามปกติ ตั้งแต่วันที่ 1 ม.

กรมสรรพากรเปิดรับสมัครผู้สอบบัญชีภาษีอากร

ผู้ค้าสลากออนไลน์อ่วม สรรพากรเข้าสอบภาษี ผู้ค้าสลากออนไลน์ มีหนาวสรรพากรจ่อตรวจภาษีถูกต้องหรือไม่ ชี้กำไรสำแดงต่ำเกินจริง แถมซื้อขายผ่านแพลตฟอร์มเลี่ยงยาก ด้านสำนักงานสลากเอาจริง ตัดสัญญาโควตา 8, 964 ราย ที่นำไปขายผ่านมังกรฟ้า ทันที 16 พ. ค. นี้

  • สรรพากรตรวจสอบบัญชีธนาคาร 2564
  • รีวิว 10 น้ำหอมผู้หญิง กลิ่นหอมแพงๆ หรูหรา ได้กลิ่นเป็นต้องเคลิ้ม
  • กรมสรรพากรเปิดรับสมัครผู้สอบบัญชีภาษีอากร

22 กันยายน 2564 สรรพากร เริ่มแล้ว ตรวจสอบเงินเข้าบัญชี บุคคล เงินเข้า 3, 000 ครั้งขึ้นไป เงินเข้า 400 ครั้ง และยอดรวม 2 ล้านบาทขึ้นไป กฎหมายประกาศ 21 มี. ค. 62 ส่งข้อมูล 31 มี.

เจ้าหนี้การค้า คณะบุคคล HOME AUDIT ชื่อลูกค้า……………………………………. แนวการสอบบัญชี เจ้าหนี้การค้า สำหรับปีสิ้นสุดวันที่……………………………………….. วัตถุประสงค์ของการตรวจสอบ เพื่อให้แน่ใจว่า 1. กิจการบันทึกรายการซื้อและเจ้าหนี้การค้าไว้ถูกต้องครบถ้วน 2. เจ้าหนี้การค้าเป็นหนี้สินที่มีอยู่จริง กิจการมีภาระผูกพันในการจ่ายชำระหนี้ 3. การแสดงมูลค่า ได้บันทึกไว้อย่างถูกต้อง 4. การแสดงรายการและการเปิดเผยข้อมูลในงบการเงินได้แสดงไว้อย่างถูกต้องครบถ้วน วิธีการตรวจสอบบัญชี เจ้าหนี้การค้า ลำดับ วิธีการตรวจสอบ กระดาษที่ ทำการอ้างอิง ปัญหา ที่ตรวจพบ ตรวจสอบโดย /วันที่ การทดสอบสาระสำคัญ ( Substantive Test) การตรวจสอบโดยการวิเคราะห์ 1. วิเคราะห์เปรียบเทียบยอดคงเหลือ เจ้าหนี้การค้าปีปัจจุบันกับปีก่อน เพื่อดูความแตกต่าง และสอบสวนหาสาเหตุ 2. เปรียบเทียบอัตราส่วนการหมุนเวียนของเจ้าหนี้การค้าปีปัจจุบันกับปีก่อน เพื่อดูความแตกต่าง และสอบสวนหาสาเหตุ วิธีการตรวจสอบอื่น 1. ขอรายละเอียดยอดคงเหลือ ณ วันสิ้นปีให้ตรงกับบัญชีคุมเจ้าหนี้ 2. ตรวจสอบการซื้อเชื่อ 3. ตรวจสอบรายการการชำระเงิน 4. ตรวจตัดยอดซื้อ 5. ตรวจสอบเอกสารการเป็นหนี้ เช่น ใบแจ้งหนี้ ใบรับของ 6.

สรรพากร ตรวจสอบบัญชี